ในการเขียน Source Code Editor พื้นฐานคือ Source Entry Utility (SEU)
ข้อสังเกต วิธีใช้งาน SEU เหมือนโปรแกรม RW (ราชวิถี เวิร์ด),CW (จุฬา เวิร์ด) ยุคปี คศ. 198x (20 ปีแล้ว)
ปัจจุบัน มี Editor เฉพาะทางเพิ่มขึ้น
สำหรับ ผู้ที่ต้องทำงาน ร่วมกับ ทีมงานเก่า ควรใช้ SEU ได้คล่องระดับหนึ่ง ก่อนจะเปลี่ยนไปใช้ Editor เฉพาะ
ขั้นตอนการเขียน Code (แบบเต็ม)
4. สิ้นสุดการเขียน Code โดยการกด F3=Exit จะเห็นหน้าจอ ยืนยัน
ขั้นตอนการเขียน Code (แบบย่อ)
1. จะป้อน Code เก็บที่ไหน ? ชื่ออะไร ? ชนิดไหน ? … Source File,Library, Member, Type
2. เรียกใช้
2.1 ผ่านตัวจัดการ strPDM > 3 > ป้อน Source File,Library, Member, Type
2.2 โดยตรง STRSEU + [F4] > ป้อน Source File,Library, Member, Type
2.1 ผ่านตัวจัดการ strPDM > 3 > ป้อน Source File,Library, Member, Type
2.2 โดยตรง STRSEU + [F4] > ป้อน Source File,Library, Member, Type
3. เริ่มเขียน Code (ใช้คำสั่งแต่ละพื้นที่)
4. สิ้นสุดการ เขียน code โดย กด F3=Exit
ขั้นตอนการเขียน Code (แบบเต็ม)
*1 RPG/400 (F-spec) ช่อง File Name ป้อนได้ไม่เกิน 8 อักษร*2 RPG/400 (C-spec) ช่อง Factor 2 จะ call PGM ที่มีชื่อไม่เกิน 8 อักษรเท่านั้น
2. เรียกใช้ ผ่าน ตัวจัดการ (คล้าย เลือกชื่อผ่าน Explorer) … (แนะนำให้ใช้ตัวนี้)strPDM > 3 > ป้อน Source File,Library, Member, Type
ป้อน File , Lib (ตามต้องการ) Member ใส่ *ALL
ต้องการให้ Member เริ่มแสดงด้วย Member = SQL ให้ป้อน Position to (มุมขวาบน) = SQL
Tip สามารถป้อนโดยใช้คำสั่งเดียวดังนี้ wrkmbrpdm qgpl/qddssrc sql*
Tip สามารถป้อนโดยใช้คำสั่งเดียวดังนี้ wrkmbrpdm qgpl/qddssrc sql*
3. เริ่มเขียน Code
3.1 กำหนดค่าเริ่มต้น ก่อน กด F13 =Change Session Defaultแนะนำเมื่อกด เลื่อนหน้า ให้เลื่อนทั้งแผ่น (F=Full)
(2) คำสั่งจัดการ กับ “บรรทัด”
(3) ส่วนของ Code
(1) คำสั่งจัดการ ภาพรวม … ใช้บ่อย
(2) คำสั่งจัดการ กับ “บรรทัด” … ใช้บ่อย
(3) ส่วนของ Code
4. สิ้นสุดการ เขียน code โดย กด F3=Exitจะเห็น หน้าจอยืนยัน
4. สิ้นสุดการเขียน Code โดยการกด F3=Exit จะเห็นหน้าจอ ยืนยัน
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น